หน้าหลัก
ตัวชี้วัด KPI
ข้อมูลปีงบประมาณ
2568
2567
2566
2565
2564
2563
2562
2561
2560
2559
2558
2557
 
ตัวชี้วัดหน่วยงาน
2568
2567
2566
2565
2564
2563
2562
2561
2560
2559
2558
2557
 
admin
ออกจากระบบ

คู่มือลงตัวชี้วัดการรายงานผล ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ปี 2567

     
   ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาความเป็นต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุ
เป้าประสงค์ :
1. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตและจิตเวชจนดีขึ้น
     มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล
      1.1 ร้อยละของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ 25)
  คกก. พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 61 ครั้ง)
      1.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MCI) ได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ 25)
  คกก.พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 33 ครั้ง)
      1.3 ร้อยละของผู้ป่วยสมองเสื่อมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ (BPSD) ได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ80)
  คกก.พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 37 ครั้ง)
      1.4 ร้อยละของผู้สูงอายุโรคจิตเภทได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ 80)
  คณะกรรมการพัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 37 ครั้ง)
      1.5 ร้อยละของผู้สูงอายุ โรคซึมเศร้าได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ 45)
  คกก.พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 45 ครั้ง)
      1.6 ร้อยละของผู้สูงอายุ โรคจิตเวชสารเสพติดได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น (ร้อยละ 60)
  คกก. พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 20 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
2. ผู้รับบริการ เครือข่าย และประชาชนพึงพอใจต่อต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุ
     มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ
      2.1 ร้อยละผู้รับบริการ เครือข่าย และประชาชนพึงพอใจต่อต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุ (ร้อยละ 80)
  คณะกรรมการพัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
3. องค์กรต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุระดับประเทศ ที่ได้รับการยอมรับ/เชื่อมั่น จากผู้รับบริการ เครือข่าย และประชาชน
     มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ
      3.1 จำนวนหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์มาตรฐานสิ่งแวดล้อมผู้สูงอายุ
  คกก. พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 30 ครั้ง)
      3.2 จำนวนหน่วยงานภายนอกที่เข้ามาศึกษาดูงานต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุ
  คกก. พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 47 ครั้ง)
      3.3 จำนวนหน่วยงานภายนอกที่นำต้นแบบด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุไปขยายผลจนเกิดผลลัพธ์ที่ดี
  คณะกรรมการพัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      3.4 จำนวนหน่วยงานภายนอกที่นำองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุไปใช้ประโยชน์
  คกก.พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 23 ครั้ง)
      3.5 จำนวนนวัตกรรมที่สามารถนำมาสร้างมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์สุขภาพจิตได้
  คกก.พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      3.6 ร้อยละเชื่อมั่นของผู้รับบริการ เครือข่าย และประชาชน ต่อต้นแบบ ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุ (ร้อยละ 40)
  คกก. พัฒนาระบบการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต  
(เข้าชม 22 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
     มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
   ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาความเชี่ยวชาญด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในเขตสุขภาพที่ 11
เป้าประสงค์ :
4. ผู้ป่วยจิตเวชได้รับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนอาการสงบ ไม่กลับมาเป็นซ้ำ
     มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล
      4.1 ร้อยละผู้ป่วยจิตเภทมีอาการทางจิตสงบต่อเนื่อง 6 เดือน (Full remission) (ร้อยละ 80) bgcolor=#FFCC99
  PCT/ CT Schizophrenia  
(เข้าชม 27 ครั้ง)
      4.2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภทได้รับการรักษาต่อเนื่องภายใน 6 เดือน (ร้อยละ 60) bgcolor=#FFCC99
  PCT/ CT Schizophrenia  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
      4.3 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหายทุเลา (Remission) ** กพร. (ร้อยละ 45) bgcolor=#FFCC99
  PCT CT Depression  
(เข้าชม 28 ครั้ง)
      4.4 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวช สารเสพติดได้รับการบำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70)
  PCT/ CT Schizophrenia  
(เข้าชม 24 ครั้ง)
      4.5 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวช สารเสพติดที่ได้รับการบำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่กลับไปติดซ้ำภายใน 90 วัน (ร้อยละ 60)
  PCT/ CT Schizophrenia  
(เข้าชม 28 ครั้ง)
      4.6 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ไม่ก่อความรุนแรงซ้ำใน 1 ปี (ร้อยละ 60) bgcolor=#FFCC99
  คกก. ดูแลผู้ป่วยรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน (SSS) และ (SMI-V)  
(เข้าชม 31 ครั้ง)
      4.7 ร้อยละของครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช ได้รับการเตรียมความพร้อมทางสังคม มีความเข้าใจ ยอมรับ ให้โอกาส และมีส่วนร่วมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
  กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์  
(เข้าชม 0 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
5. ผู้รับบริการพึงพอใจต่อความเชี่ยวชาญด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
     มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ
      5.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อความเชี่ยวชาญ ด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวช (ร้อยละ 80)
  คกก.ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
6. ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพมาตรฐาน
     มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ
      6.1 ร้อยละการเข้าถึงบริการด้วยระบบรับส่งต่อตามเกณฑ์ (refer in) ของผู้ป่วยจิตเวชรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน (ร้อยละ 60)
  PCT ศูนย์ส่งต่อ  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
      6.2 จำนวนหน่วยบริการที่มีการจัดสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์มาตรฐาน
  PCT  
(เข้าชม 23 ครั้ง)
      6.3 อัตราอุบัติการณ์ความเสี่ยงทางคลินิกที่มีผลกระทบระดับ E ขึ้นไป ต่อ 1,000 วันนอน (ร้อยละ 10)
  PCT  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      6.4 จำนวนผู้ป่วยจิตเวชที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล (0 ราย)
  PCT  
(เข้าชม 31 ครั้ง)
      6.5 จำนวนผู้ป่วยในที่ต้องส่งต่อ (refer out) ภายใน 24 ชม. หลังรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (0 ราย)
  PCT  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
      6.6 ระบบการรักษาสารเสพติดได้การรับรองคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (HA ยาเสพติด) ของสถาบันธัญญรักษ์ (1 ระบบ )
  PCT  
(เข้าชม 34 ครั้ง)
      6.7 ระบบการรักษาผู้ป่วยโรคจิตเภทได้การรับรองคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ (DSC)
  PCT  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
     มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
   ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนสังคมสุขภาพจิตดี
เป้าประสงค์ :
7.ประชาชนมีสุขภาพจิตดี
8. ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่องในชุมชนได้
     มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล
      7.1 ร้อยละคนไทยมีสุขภาพจิตดี (ร้อยละ 80)
  คกก.พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 26 ครั้ง)
      7.2 ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์ตามประเด็นปัญหาในพื้นที่ (ร้อยละ 50)
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 24 ครั้ง)
      7.3 ร้อยละของประชาชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพจิต ** กพร (ร้อยละ 65) bgcolor=#FFCC99
  คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 20 ครั้ง)
      8.1 จำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงของผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด (จำนวน 10)
  คกก.พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 19 ครั้ง)
      8.2 ร้อยละของอุบัติการณ์ความรุนแรงจากผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดลดลง (ร้อยละ50)
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 29 ครั้ง)
      8.3 ร้อยละของผู้ต้องขังจิตเวชในเรือนจำได้รับการดูแลรักษา (ร้อยละ 95)
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 22 ครั้ง)
      8.4 ร้อยละของผู้ต้องขังจิตเวชหลังพ้นโทษจากเรือนจำได้รับการดูแลต่อเนื่อง (ร้อนละ 60)
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 30 ครั้ง)
      8.5 ร้อยละผู้ป่วยจิตเวชยุ่งยากซับซ้อนหลังจำหน่ายอยู่ในชุมชนได้นาน 1 ปี (ร้อยละ 80) bgcolor=#FFCC99
  คกก.พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      8.6 ร้อยละของคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมได้รับการฟื้นฟูจนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (ร้อยละ 98)
  กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์  
(เข้าชม 26 ครั้ง)
      8.7 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวช (นิติจิตเวช, SMI-V, พรบ.) ที่เข้ารับการบำบัดรักษาและจำหน่ายได้รับการติดตามต่อเนื่องใน 1 ปี (ร้อยละ 90) bgcolor=#FFCC99
  คกก. ดูแลผู้ป่วยรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน (SSS) และ (SMI-V)  
(เข้าชม 41 ครั้ง)
      8.8 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวช สารเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) (ร้อยละ 60) bgcolor=#FFCC99
  PCT /CT Substance  
(เข้าชม 29 ครั้ง)
      8.9 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการช่วยเหลือป้องกันไม่กระทำซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ** กพร. (ร้อยละ 97) bgcolor=#FFCC99
  คกก.พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 24 ครั้ง)
      8.10 ร้อยละผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตได้รับการติดตาม ช่วยเหลือ ร้อยละ 80 (MHCI) (ร้อยละ 80)
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 18 ครั้ง)
      8.11 ร้อยละประชาชนที่เข้าถึงและรับรู้ความรู้สุขภาพจิตในสถานการณ์วิกฤติ (ร้อยละ 55) bgcolor=#FFCC99
  งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน  
(เข้าชม 20 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
9. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเข้าถึงระบบบริการ
     มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ
      9.1 ร้อยละการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า (ร้อยละ 100) bgcolor=#FFCC99
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 24 ครั้ง)
      9.2 ร้อยละการเข้าถึงบริการของผู้พยายามฆ่าตัวตาย (ร้อยละ 40) bgcolor=#FFCC99
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 28 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
10. ภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตชุมชน
     มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ
      10.1 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Unit: PCU) มีระบบ/ กิจกรรมในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนจนเกิดผลลัพธ์ที่ดีขึ้น ** กพร. (ร้อยละ 70/15) bgcolor=#FFCC99
  คกก. พัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 18 ครั้ง)
      10.2 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือใหม่ในการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช (1 เครือข่าย)
  คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 11  
(เข้าชม 16 ครั้ง)
      10.3 ระดับความสำเร็จของเครือข่ายต้นแบบสุขภาพจิตและจิตเวชครบวงจรโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการมีส่วนร่วมตามกระบวนการ CBR (ระดับ 5)
  คกก.ดูแลผู้ป่วยรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน (SSS) และ (SMI-V)  
(เข้าชม 24 ครั้ง)
      10.4 ร้อยละของจังหวัดที่มีการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพจิตผ่านคณะอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิตระดับจังหวัด** กพร. (ร้อยละ100) bgcolor=#FFCC99
  กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
     มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
   ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรสู่โรงพยาบาลคุณภาพ และสมรรถนะสูง
เป้าประสงค์ :
11. องค์กรผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน
     มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล
      11.1 จำนวนมาตรฐานเฉพาะด้านที่ผ่านการรับรองคุณภาพ (สะสม จำนวน 7 มาตรฐาน)
  ศูนย์คุณภาพ  
(เข้าชม 23 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
12. บุคลากรมีความสุขและผูกพันต่อองค์กร
     มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ
      12.1 ร้อยละของบุคลากรที่มีความสุข (Happinometer) (ร้อยละ 66)
  คณะกรรมการ HRD  
(เข้าชม 23 ครั้ง)
      12.2 ร้อยละความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร (ร้อยละ 94)
  ศูนย์ MIO/LO  
(เข้าชม 26 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
13. ระบบการเงินที่มีเสถียรภาพ
14. การบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
     มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ
      13.1 อัตราสภาพคล่องทางการเงินอัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio) (35 เท่า)
  กลุ่มงานการเงินและบัญชี  
(เข้าชม 20 ครั้ง)
      13.2อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) (35 เท่า)
  กลุ่มงานการเงินและบัญชี  
(เข้าชม 19 ครั้ง)
      13.3 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt-to-equity ratio) (น้อยกว่า 0.03 เท่า)
  กลุ่มงานการเงินและบัญชี  
(เข้าชม 23 ครั้ง)
      14.1 ร้อยละของบุคลากรที่มีความรู้และความเข้าใจ ในทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงาน
  กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      14.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยลดลง
  คณะกรรมการ ENV  
(เข้าชม 27 ครั้ง)
เป้าประสงค์ :
15. ระบบข้อมูลสารสนเทศ (Data Center) และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนระบบบริการ
16. องค์ความรู้ วิจัย/นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
17. บุคลากรมีสมรรถนะที่เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวช และมีทักษะด้านดิจิทัล
     มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
      15.1 จำนวนของชุดข้อมูล (Data set) ที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้ใช้และสามารถเชื่อมโยงกันได้ภายในองค์กร (จำนวนสะสม 15)
  กลุ่มงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ  
(เข้าชม 26 ครั้ง)
      15.2 ร้อยละของชุดข้อมูล (Data set) ที่มีการนำไปใช้ มีความถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา (ร้อยละ 50)
  กลุ่มงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ  
(เข้าชม 21 ครั้ง)
      15.3 จำนวนโปรแกรมประยุกต์ ที่พัฒนาเพื่อนำมาใช้ในปรับเปลี่ยนกระบวนงานสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล (2โปรแกรม)
  กลุ่มงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ  
(เข้าชม 50 ครั้ง)
      15.4 จำนวนอุบัติการณ์ข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญภายในองค์กรเกิดความไม่มั่นคงปลอดภัย รั่วไหลออกไปสู่ภายนอก (จำนวน 0)
  กลุ่มงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ  
(เข้าชม 25 ครั้ง)
      16.1 จำนวนองค์ความรู้ วิจัย/นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ได้รับการพัฒนา (5เรื่อง)
  ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม  
(เข้าชม 27 ครั้ง)
      16.2 ร้อยละขององค์ความรู้ วิจัย/นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาถูกนำไป ใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวชทั้งในองค์กร/หน่วยงานภายนอก (ร้อยละ 50)
  ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม  
(เข้าชม 26 ครั้ง)
      17.1 ร้อยละของบุคลากรที่มีสมรรถนะผ่านการเป็นผู้เชี่ยวชาญตามกลุ่มโรค (ร้อยละ 20)
  คณะกรรมการ HRD  
(เข้าชม 27 ครั้ง)
      17.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (ร้อยละ 50)
  คณะกรรมการ HRD  
(เข้าชม 45 ครั้ง)